EM ย่อมาจาก Effective Microorganisms หมายถึง “กลุ่มจุลินทรีย์ที่มี มีประโยชน์ต่อคน พืช สัตว์ และสิ่งแวดล้อม”
Microorganisms คืออะไรมีความสำคัญยังไงกับ ดิน พืช รวมถึงมนุษย์
Microorganisms ประกอบด้วย
1. แบคทีเรีย (Bacteria) 2. เชื้อรา (Fungi) 3. โปรโตซัว (Protozoa) 4. สาหร่าย (Algae) 5.รวมถึง Virus
พวกมันจะช่วยย่อย กิน ซกพืช ซากสัตว์ รวมถึงตัวพวกมันเอง และเกิดมาเป็นธาตุอาหารที่พืชได้นำไปใช้ได้ทันที
ทั้งหมดนี่มีความสำคัญเช่นไร เราเริ่มจากพืช บนดิน พืชต้องการ แสงค์ CO2 และใต้ดิน พืชต้องการน้ำ และแร่ธาตุต่างๆ เพื่อทำให้มันเติบโต เหนือดิน แสงและ CO2 พืชจะเก็กกับ CO2 ไว้ที่รากของมันประมาณ 40% ส่วนรากของพืชนั้น ต้องการ Microorganisms เป็นอย่างมาก หากไม่มี Microbs พืชจะค่อยๆแห้งเหี่ยวและตายจากไป หรือ ไม่ทนทานต่อโรคต่างๆ
องค์ประกอบของพืช
C 45% คอร์บอน
O 45% ออกซิเจน
H 6% ไฮโดรเจน
N 1.5% ไนโตรเจน
รวม CO2 =90%
ในขณะที่ ธาตุอาหารเราอื่นๆรวมกัน MG, K, Ca, P, S รวมกัน =2%
นักวิทยาศาสตร์จากสถาบัน
Microbiology U.S.S.R
ที่สำคัญที่สุดของส่วนประกอบของดินคือคาร์บอนไดออกไซด์ และ การเสื่อมสลายหรือการย่อยปุ๋ยในสารอินทรีย์ทั้งหมด
การที่จะมีดินที่ดี จะต้องมีจุลินทรีย์ หรือ สมดุลของ Microorganism เรียกสั้นๆว่า Microbs
สิ่งชีวิตขนาดเล็กที่สามารถมองได้เห็นมองไม่สามารถมองให้เห็นได้ตาเปล่าต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ได้แก่
1.แบคทีเรีย
2. รา
3. ยืสต์
4. โปรโตซัว
5. ALGAE
6. ไวรัส
ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีความสมดุลของแบคทีเรียและราไม่เท่ากัน
ต.ย. เช่น
หญ้าต้องการ แบคทีเรีย:รา 10:1
ผัก ต้องการ แบคทีเรีย:รา 1:3/4
ผลไม้องุ่น แบคทีเรีย:รา 1.5:10
ป่าสน แบคทีเรีย:รา 1:1000
ดินที่ที่ทำให้พืชแข็งแรงจะส่งผลให้พืชผลประโยชน์ทางโภชนาการสูงมาก
เราต้องการความสมดุลในดินเพื่อจะให้เป็นที่อยู่และกิจกรรมที่ถูกต้องของแบคทีเรียและราและ microbs อื่นๆ
มาดูส่วนประกอบของ
Microbs ต่างๆ
แบคทีเรีย C5:1 N
มีส่วนประกอบของคาร์บอน 5 เท่าต่อ 1 ไนโตรเจน
รา C20:1N
คาร์บอน 20 เท่าต่อ 1 ไนโตรเจน
โปรโตซัว C30:1N
คาร์บอน 30 เท่าต่อ 1 ไนโตรเจน
ไส้เดือน C150:1N
แปลว่าเมื่อโปรโตซัวไปกินแบคทีเรียมันจะเหลือไนโตรเจนเอาไว้และองค์ประกอบในตัวมันเองมันจะไม่สามารถเก็บไนโตรเจนไว้มันก็จะปล่อยไนโตรเจนกับสู่ดินนั่นเอง
DR. Elalne พูดไว้ในตารางธาตุที่มีการ ปลูกแบบ ใช้สารอินทรีย์
ไนโตรเจนในพืช จะอยู่ที่ 2,000 มิลลิกรัมต่อ 1 กิโลกรัม
และมีฟอสเฟตและซัลเฟอร์ ทั้งหมดดังกล่าวมีจำนวนมากซึ่งไม่จำเป็น ต่อการใส่ปุ๋ยเลย
การทำน้ำหมักก็ง่ายแสนง่าย โดยนำอินทรย์วัตถุมาใส้น้ำ และน้ำตาล ทำให้เกิดจุลลินทรย์ต่างๆขึ้นมา
ตัวจุลลินทรีย์ไม่ใช่อาหารของพืช แต่จะเป็นตัวย่อย อินทีย์วัตถุ เช่น ซากพืช ซากสัตว์และ microbs ซึ่งการกิน การย่อยนั้นจะทำให้ Microbs คาย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแทสเซียมออกมาให้พืช ส่วนพืชก็ให้กลับด้วยน้ำตาลซูโครสและคาร์โบไฮเดรต จะเห็นว่าเป็นความสำพันธ์ที่แสนเกื้อกูลและน่ารัก งดงามมากๆ
การเก็บ ควรเก็บในที่ทึบแสง หากยังไม่ใช่ใส่ถุง ziplock ใส่ในตู้เย็นเพราะ Microbs จะชะลอการเติบโต
REF https://www.youtube.com/watch?v=NuHEoix8HFo&list=PL9E_KsXWYvDP-RSrsc6SXCeCHHcIq1-9Y&index=147&t=779s
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น